บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28 ถนนพรหมาสตร์ ตำบลบางปลาสร้อย อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 083 2431855
E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
ช่วงนี้โรงงานเริ่มอบรมภายใน เพื่อป้องกันโควิท 19
การ์ดไม่ตก ใส่แมส จัดระยะห่าง ล้างมือด้วยเจลเสมอ
โปรโมชั่นส่งเสริมความรู้ ร่วมด้วยช่วยเหลือกัน
องค์กรหรือโรงงาน ที่จะอบรมภายในไม่เกิน 10 คน
ISO9001:2015, ISO13485:2016
ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
Second Half Year 2020 ในราคาเพียง 4,000 บาท
กรณีผู้เข้าอบรมไม่เกิน 15 คน ในราคาเพียง 5,000 บาท
ช่วงโปรโมชั่น In-House Training หลักสูตรมาตรฐานอื่นๆ 50% จากราคาปกติ
ผู้เข้าอบรมเข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
หลักสูตร FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA
สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
ช่วงโปรโมชั่นไตรมาสที่สี่ In-House Training เพียง 50% จากราคาปกติ
หลักสูตรการประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
ช่วงโปรโมชั่นไตรมาสที่สี่ In-House Training เพียง 50% จากราคาปกติ
หลักสูตรการประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
In-House Training บรรยายครึ่งวัน ทำ Workshop อีกครึ่งวัน
ให้คำปรึกษาติดตามผล และทำจนกว่าจะทำได้จริง
New FMEA By AIAG & VDAให้คำปรึกษาติดตามผล และทำจนกว่าจะทำได้จริง
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link http://safetysolving.blogspot.com/
Special Promotion:
อบรมภายในหลักสูตร ข้อกำหนด ISO45001:2018
ช่วยปรับเปลี่ยนจาก OHSAS18001:2007
สู่มาตรฐานใหม่ OH&S ISO45001:2018
โครงการพิเศษจาก OHSAS18001:2007
ปรับเข้าสู่มาตรฐานใหม่ ISO45001:2018
มีอบรมและออกใบ Training Certificate
ให้สำหรับผู้เข้าอบรมจริง ดังนี้
1 อบรมข้อกำหนด(Requirements of ISO45001:2018) ควบรวม
อบรมความเสี่ยง (Risk Assessment) และอบรม Internal Auditor of ISO45001:2018
2 ให้คำปรึกษาและช่วยทบทวนการควบคุ มและจัดทำเอกสาร
มีแบบฟอร์มช่วยจัดทำเพื่อเข้าสู่ New Standard
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO และ IATF16949:2016
ให้บริการเป็น QMR/EMR สำหรับ SME ช่วยรักษาระบบชั่วคราว
การปรับเข้าสู่เวอร์ชั่นใหม่ของ ISO9001:2015
มีอบรมและออกใบ Training Certificate ให้สำหรับผู้เข้าอบรมจริง ดังนี้
1 อบรมข้อกำหนด(Requirements of ISO9001:2015) ควบรวม
อบรมการบริหารความเสี่ยงด้านคุณภาพ (Risk Management)
และอบรม Internal Auditor of ISO9001:2015
2 ให้คำปรึกษาและช่วยทบทวนการควบคุ มและจัดทำเอกสาร
มีแบบฟอร์มช่วยจัดทำเพื่อเข้าสู่ New Version
การปรับเข้าสู่เวอร์ชั่นใหม่ของ ISO14001:2015
มีอบรมและออกใบ Training Certificate ให้สำหรับผู้เข้าอบรมจริง ดังนี้
1 อบรมข้อกำหนด(Requirements of ISO14001:2015) ควบรวมกับอบรมความเสี่ยงและประเด็นปั ญหาสิ่งแวดล้อม
(Environmental Risk and Aspect Evaluation)
อบรม Internal Auditor of ISO14001:2015
2 ให้คำปรึกษาและช่วยทบทวนการควบคุ มและจัดทำเอกสาร
มีแบบฟอร์มช่วยจัดทำเพื่อเข้าสู่ New Version
สำหรับองค์กรที่ไม่เคยจัดทำระบบมาก่อน สอบถามเพิ่มเติม
คุณภาพเป็นเลิศ ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ
823/28 ถนนพรหมาสตร์ อำเภอเมือง ชลบุรี
081 3029339, 083 2431855
โทรสาร 02 7441859
Line ID: iatf16949
ksnationconsultant@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
หรือที่ isobible@gmail.com
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
วันที่อบรมสามารถอบรมแยกจากกันคนละเดือนหรือตามความสะดวก
มีทั้งแบบเร่งด่วนหรือโครงการปกติ
"as your require"
In-House Training: http://ksnationconsultant.blogspot.com/
บทความ ISO9001&IATF16949/TQM/Six Sigma สามารถคลิ๊ค
บทความ GMP/HACCP/FSMS/FSSC22000 link: http://qualitysolving.blogspot.com/
บทความ EMS/OH&S /SA8000 link: http://safetysolving.blogspot.com/
Check List ISO ทุกระบบ link: http://Mcqmrtraining-Mcqmr.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่ http://McQMRTraining.blogspot.com/
สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆ
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO9001:2015 New version
อบรมภายในราคาพิเศษ:
หลักสูตร Logical Thinking คิดแบบมีตรรกะ อบรมหนึ่งวัน
ISO9001:2015 New Version และ IATF16949:2016
หลักสูตร Risk Management of ISO9001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO9001:2015
EMS ISO14001:2015 New Version
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO14001:2015 New Version
หลักสูตร Risk Management of ISO14001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO14001:2015
OH&S ISO45001:2018
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO45001:2018 New Standard
หลักสูตร Risk Management of ISO45001:2018
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO45001:2018
บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn Ngamprompong หรือ ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"
Hazard Analysis and Critical Control Point หรือ HACCP
Hazard Analysis and Critical Control Point หรือ HACCP
การที่จะควบคุมไม่ให้เกิดเชื้อในผลิตภัณฑ์อาหารนั้น แต่ละสินค้าจะมีจุดควบคุมไม่เหมือนกัน
ยกตัวอย่าง เช่น
1 ประเภท น้ำอัดลม ใช่ค่าความเป็นกรด หรือ pH= 2- 3 ณ จุดนี้เชื้อไม่สามารถเจริญเติบโตได้ เป็นการใช้วิธีการแบบ pH Control
2 ประเภท ซีอิ๊ว ใช้ความเค็ม หรือ % Salt เป็นตัวควบคุม เป็นการใช้วิธีการแบบ Addition of Preservatives เพื่อหยุดการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
3 ประเภท น้ำหวาน ใช้ค่า % Bric หรือความหวานเป็นตัวควบคุม
4 ประเภท เนื้อไก่ ใช้วัดค่าที่จุดกึ่งกลางของเนื้อไก่ โดยใช้อุณภูมิต้องไม่น้อยกว่า 72 องศาเซ็นเซียส
อาหารบางประเภทที่ผ่านความร้อนในการอบ ตัวแปรต้องสัมพันธ์กันทั้ง ค่าอุณหภูมิ(Temperature)
เป็นวิธีการแบบ Thermal Process ฉะนั้นความเร็วของสายพาน(Conveyor Speed) และก็เวลา(Time)
เพื่อให้อุณหภูมิได้ตามที่กำหนด จึงต้องควบคุมความสัมพันธ์ของพารามิเตอร์
5 ส่วนอุณหภูมิที่ใช้แช่แข็ง ณ จุดเยือกแข็ง ต้องต่ำกว่า -18 องศาเซ็นเซียส อาหารจะเก็บในสภาพนี้ได้นาน วิธีการแบบนี้คือ Freezing Control
นอกจากนี้ยังมีวิธีการควบคุมอีกหลายแบบหลายอย่าง เช่น Thermal Treatment ซึ่งใช้วิธีการพลาสเจอไรเซชั่น (Pasteurization) การทำให้ปลอดภัยในอาหารหรือไม่ ต้องเลือกใช้วิธีการให้เหมาะสมและถูกต้อง
ช่วงนี้น้ำเริ่มลด บ้านผู้เขียนโชคดีที่ไม่ถูกน้ำท่วม แต่ก็เห็นใจผู้ที่บ้านถูกน้ำท่วมจากมหาอุทกภัยครั้งใหญ่ปี 2554 หรือ พ.ศ. 2011 วันนี้ผู้เขียนจะเริ่มอธิบายการทำวิเคราะห์อันตรายก่อน (Hazard Analysis) และต้องเข้าใจการใช้ Decision Tree Diagram จากนั้นจึงจะทำต่อไปเป็น HACCP Plans (Hazard Analysis and Critical Control Point Plans)
ดูจากตารางข้างล่าง ก็เขียนแบบง่ายๆ ใช้เป็นแบบฟอร์มและรูปแบบนี้ไปก่อน
การวิเคราะห์อันตราย (Hazard Analysis)
| |||||||||
ขั้นตอน
(Process)
|
อันตราย(Hazard)
|
อันตรายที่มาจาก
|
มาตรการควบคุม
(Control Measure)
|
Decision Tree Diagram
|
CCP
|
Remark
| |||
Q1
|
Q2
|
Q3
|
Q4
|
Y/N
| |||||
ด้านกายภาพ (Physical)
| |||||||||
ด้านเคมี
(Chemical)
| |||||||||
ด้านชีวภาพ
(Biological)
|
จากตาราง ต้องวิเคราะห์กระบวนการหรือขั้นตอน (Process) ทั้งหมด (ที่มี) โดยพิจารณาทั้งด้านกายภาพว่ามีก่อให้เกิดอันตรายใดบ้าง ส่วนใหญ่มักพบจากการปะปนทุกขั้นตอน ทั้งขั้นตอนวัตถุดิบรับเข้า ในกระบวนการผลิต หรือก่อนการจัดส่งผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้า
วันนี้ผู้ัเขียนขอเขียนต่อ หลังว่างเว้นไปนานสำหรับบทความนี้ แต่ก็ทยอยเขียนทุกบล๊อค ทุกระบบการจัดการ เพื่อนำประสบการณ์จริงมาเล่าสู่น้องๆและเพื่อนพนักงานจากโรงงาน
เริ่มตั้งแต่คำว่า อาหาร (Food) หมายถึง สารหรือวัตถุ หรือสิ่งที่บริโภคได้ รวมทั้งเครื่องดื่ม และสิ่งที่เคี็ยว เช่น หมากฝรั่ง(Gum) ผู้เขียนมักพูดว่าคือ สิ่งที่เข้าปากได้ หมายถึงว่า โรงงานที่ผลิตสิ่งนั้น ต้องทำ GMP แต่สิ่งที่เข้าปากนอกจากอาหารแล้ว ยังมีเครื่องสำอางค์ และยา จึงต้องทำมาตรฐาน GMP ด้วย
แต่เครื่องสำอางค์ ยาและบุหรี่ ไม่ใช่อาหาร จะเป็นอาหารได้ ต้องรับประทานได้อย่างปลอดภัย จึงมาตรฐานเกี่ยวกัย Food Safety และ Safe Food เช่น SQF (Safe Quality Food), FDA, IFS, BRC และ HAL-QS (Hygiene Assurance Liabity- Quality System) ที่เรียกว่า อาหารฮาลาล(HALAL) ไทยเราส่งอาหารฮาลาลไปขายประเทศของชาวมุสลิมประมาณ 12.5% ของการส่งออกอาหารทั้งหมด นับเป็นเงินหลายพันล้านบาท โดยมีการรับรองและแสดงเป็นเครื่องหมายฮาลาล โดยคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยหรือคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ซึ่งต้องทำให้ถูกต้องตามหลักศาสนา ตรงกับบทบัญญัติของศาสนาอิสลามและเป็นไปตามระบบและมาตรฐานความปลอดภัยด้านอาหารด้วย ทำให้ผู้เขียนนึกถึงเพื่อนชาวมุสลิมคนหนึ่ง เมื่อ 26 ปีที่ผ่านมา เวลาไปเดินป่าทางภาคเหนือด้วยกันช่วงวันหยุดยาว ซึ่งเพื่อนคนนี้มีหน้าที่เชือดไก่ (ไก่จริงๆ ไม่ต้องให้ลิงดู) โดยบอกว่ามือเชือดไก่ต้องเป็นชาวมุสลิม จะให้คนอื่นที่ไม่ใช่ชาวมุสลิมมาทำแทนไม่ได้ ครั้งหนึ่งมือเชือดมุสลิมอีกคนไม่อยู่ เพื่อนคนนี้ต้องกลับจากเหนือด่วน เพราะเป็นไก่ที่จะผลิตเป็นอาหารให้ชาวมุสลิม การทำงานไม่มีคำว่า ลักไก่ นี่แหละเข้าถึงจิตวิญญาณ เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของพระเจ้า ช่วงเทศกาลกินเจ ผู้เขียนไปกินอาหารเจ พบพ่อค้าอาหารใช้กะทะ พอพ้นหน้าเทศกาลเจ ก็ยังใช้กะทะเดิมที่ทำอาหารจากเนื้อสัตว์ เหตุที่จำได้ เพราะลักษณะกะทะหูแหว่งตรงตำหนิเดิมทุกประการ อย่างนี้น่าจะเรียกว่า ไร้จิตวิญญาณ หรือว่า พ่อค้าท่านนี้มีกะทะสองใบก็อาจจะได้ ถ้าไม่มีหลักฐาน ยังด่วนสรุปไม่ได้ เพียงแค่สัณนิฐาน
การควบคุมอันตราย ต้องมีมาตรการควบคุม หรือกำหนด Control Measures เพื่อลดหรือกำจัดอันตรายให้อยู่ในระดับยอมรับได้หรือปลอดภัยด้านอาหาร
ผู้เขียนจะกล่าวถึงอันตรายแต่ละประเภท ดังนี้
อันตรายด้านกายภาพ มักพบประเภทเศษโลหะ เศษพลาสติก เศษหินหรือก้อนกรวด เศษด้าย เศษกระดาษ เศษกระจก เศษไม้ เศษกระดูก แม้แต่สาเหตุมาจากพนักงานหรือผู้มาเยี่ยมชมโรงงาน เช่น แหวน ตุ้มหู กระดุมจากเสื้อ ปากกา ดินสอ ที่หนีบไท๊ หมากฝรั่ง บุหรี่ เส้นผม อื่นๆซึ่งต้องตรวจสอบว่ามาจากแหล่งใด
อันตรายด้านเคมี มาจากสารเคมีที่เป็นอันตรายปะปนเข้ามา เช่น ยาฆ่าแมลง (Insecticide) สารอันตราย เช่นเจือปนสารตะกั่ว (Lead) แคดเมี่ยม (Cadmium) ปรอท (Mercury) สารหนู (Arsenic) สารซยาไนด์ (Cyanide) สารประกอบจากโครเมี่ยม (Hexavalent Cromium) สาร PBB, PBDE (จากกลุ่มที่เป็นสารประกอบของโบรมีน) น้ำมันเครื่องจักร จารบี สารเคมีที่ใช้ทำความสะอาด และสารพิษที่มาจากเชื้อราบางชนิดที่สร้างสารพิษที่เรียกว่า อะฟาทอกซิน
อันตรายด้านชีวภาพ มาจากจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค จากแบคทีเรีย ไวรัส (Virus)และ พาราไซท์ (Parasites)
ยกตัวอย่างเชื้อโรคจากแบคทีเรีย (Bacteria) เช่น
Salmonella spp, Clostridium botulinum, Clostridium perfringens, Staphylococcus aureus, Listeria monocytogenes, Vibrio spp, E. coli O157:h7, Bacillus cereus, Campylobacter jejuni เป็นต้น
บางท่านจะทำการวิเคราะห์อันตราย ต้องเขียน Flow Chart การผลิต รวมทั้งบรรจุภัณฑ์ สารเติมแต่งที่ใส่เข้าไปในทุกขั้นตอนให้ครบถ้วนและชัดเจน จะได้ประเมินแล้วไม่ตกหล่น หลังใช้ Tree Diagram หากสามารถระบุจุดวิกฤตได้ถือว่าเป็นจุดสำคัญ หากไม่แน่ใจก็นำ PRP เข้ามาช่วยควบคุมให้มีการควบคุมที่แข็งแรงขึ้น ป้องกันข้อผิดพลาด เรียกว่า OPRP นี้ถูกนำมาใช้ควบคุมกรณีที่ไม่แน่ใจ หรือหาจุดวิกฤตไม่ได้ ให้ศึกษาข้อกำหนด 7.5 ของ ISO22000: 2005
ผู้เขียน จะอธิบายความรู้ตั้งแต่ GMP HACCP FSMS BRC IFS ให้ต่อไป บางท่านจบใหม่ จะได้ใช้ศึกษาปูพื้น เพื่อไปต่อยอด สามารถค้นคว้าอ่านใน Internet เช่น CAC/RAP-1 (1969), Rev.3 (1997) หรือ Recommended International Code of Practice : General Principles of Food Hygiene
บางท่านจะทำการวิเคราะห์อันตราย ต้องเขียน Flow Chart การผลิต รวมทั้งบรรจุภัณฑ์ สารเติมแต่งที่ใส่เข้าไปในทุกขั้นตอนให้ครบถ้วนและชัดเจน จะได้ประเมินแล้วไม่ตกหล่น หลังใช้ Tree Diagram หากสามารถระบุจุดวิกฤตได้ถือว่าเป็นจุดสำคัญ หากไม่แน่ใจก็นำ PRP เข้ามาช่วยควบคุมให้มีการควบคุมที่แข็งแรงขึ้น ป้องกันข้อผิดพลาด เรียกว่า OPRP นี้ถูกนำมาใช้ควบคุมกรณีที่ไม่แน่ใจ หรือหาจุดวิกฤตไม่ได้ ให้ศึกษาข้อกำหนด 7.5 ของ ISO22000: 2005
ผู้เขียน จะอธิบายความรู้ตั้งแต่ GMP HACCP FSMS BRC IFS ให้ต่อไป บางท่านจบใหม่ จะได้ใช้ศึกษาปูพื้น เพื่อไปต่อยอด สามารถค้นคว้าอ่านใน Internet เช่น CAC/RAP-1 (1969), Rev.3 (1997) หรือ Recommended International Code of Practice : General Principles of Food Hygiene
ค้นจาก Codex Alimentarius
Supplement to Volume 1B-
1997 ; Annex to CAC/RCP-1(1969),Rev 3(1997) : Hazard
Analysis and Critical Control Point (HACCP) System
and Guidelines for its Application
* Codex Stan 1- 1985 : Codex General Standard for Labelling of Packaged Foods
* Codex Stan 1- 1985 : Codex General Standard for Labelling of Packaged Foods
ข้อกำหนด GMP ของ Codex Standard มีัดังนี้
1.
วัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ทั่วไปด้านสุขลักษณะอาหาร
2. ขอบข่าย การใช้ และนิยามศัพท์
3. การผลิตขั้นต้น
4. สถานที่ประกอบการ
-
การออกแบบ และสิ่งอำนวยความสะดวก
5. การควบคุมการปฏิบัติงาน
6. สถานที่ประกอบการ :
การบำรุงรักษาและการสุขาภิบาล
7. สถานที่ประกอบการ : สุขลักษณะส่วนบุคคล
8. การขนส่ง
9. ข้อมูลผลิตภัณฑ์ และ การสร้างความเข้าใจต่อผู้บริโภค
10.การฝึกอบรม
ผู้เขียนขอกล่าวสั้นๆ ดังนี้
1. วัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ทั่วไปด้านสุขลักษณะอาหาร
ผู้เขียนขอกล่าวสั้นๆ ดังนี้
1. วัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ทั่วไปด้านสุขลักษณะอาหาร
* หลักการสำคัญในการนำสุขลักษณะมาปฏิบัติทุกห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่วัตถุดิบไปยังผู้ผลิต
ไปสู่ผู้บริโภคใน ขั้นตอนสุดท้าย
* ส่วนที่จำเป็นที่เน้น
เริ่มตั้งแต่วัตถุดิบรับเข้า ระหว่างการผลิตการปรุง การบรรจุ การจัดเก็บ
และการขนส่งไปส่วนงานถัดไป
* GMP เป็นมาตรฐานและเป็นส่วนหนึ่งของ HACCP และ ISO22000: 2005 ปรับเวอร์ชั่นเป็น ISO22000:2018 บางโรงงานเพิ่มหรือยกระดับมาตรฐานตามที่ลูกค้าร้องขอทำ FSSC22000
* ให้ศึกษาหรืออ่านที่ มอก. 34: ข้อปฏิบัติแนะนำระหว่างประเทศหลักการทั่วไป
เกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร
2. ขอบข่าย การใช้ และนิยามศัพท์
เกี่ยวกับนิยาม จะยกตัวอย่างให้น้องๆที่กำลังศึกษา เข้าใจเป็นพื้นฐานเพื่อไปศึกษาต่อยอดต่อไป เช่น
* การทำความสะอาด (Cleaning) หมายถึงการขจัดสิ่งสกปรก เศษอาหาร ฝุ่น น้ำมัน
หรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์อื่นๆ
* สิ่งปนเปื้อน (Contaminant) หมายถึง สารเคมี หรือชีวภาพ สิ่งปลอมปนหรือ สารอื่นๆ ที่ไม่ได้ตั้งใจเติมเข้าไปในอาหาร ซึ่งอาจทำให้ความปลอดภัย
หรือ ความเหมาะสมของอาหารลดลง
* การปนเปื้อน (Contamination) หมายถึงการได้รับหรือเกิดสิ่งปนเปื้อนใน อาหาร
หรือสิ่งแวดล้อมของอาหาร
* สุขลักษณะอาหาร (Food Hygiene)
หมายถึงสภาวะและมาตรการต่างๆที่จำเป็นที่จะทำให้มั่นใจในความปลอดภัยและความเหมาะสมของอาหาร
ในทุกขั้นตอนของอาหารตั้งแต่การผลิตเบื้องต้นถึงผู้บริโภคสุดท้าย
* อันตราย (Hazard) หมายถึงสารเคมี
หรือชีวภาพ หรือวัตถุทางฟิสิกส์
ที่มีอยู่ในอาหารหรือสภาวะของอาหารที่มีศักยภาพก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ
ข้อกำหนดที่ 3 การผลิตขั้นต้น (Primary Production)
คือ กระบวนการตั้งแต่ขั้นตอนต้นๆ ของห่วงโซ่ อาหาร (Food Chain) เช่น
การเพาะปลูก การทำไร่ การเก็บเกี่ยว
การเลี้ยงสัตว์
การฆ่าและการชำแหละสัตว์
การรีดนม การจับสัตว์น้ำ
การเตรียมวัตถุดิบเบื้องต้น
ทุกขั้นตอนของห่วงโซ่อาหารต้องปลอดภัย จากการสะสมของยากำจัดศัตรู
พืชหรือยาฆ่าแมลง ยาปฏิชีวนะ สารโลหะหนัก และการปนเปื้อนอันตราย
ต่างๆ
ผู้เขียนจะหาเวลามาเขียนตัวอย่างให้มากขึ้น เพื่อให้เห็นรายละเอียดและเสริมความเข้าใจ หรือบางครั้ง คุณสุขุม งามพร้อมพงศ์ หรือ ซัน สำเร็จปริญญามหาบัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขา Biotechnology จะมาช่วยเขียนบทความ เนื่องจากงานของคุณซัน เน้นไปที่ FSMS/ FSSC22000 หรือ Food Safety, ISO13485 หรือด้านเครื่องมือแพทย์ Medical Devices และงานทางห้องปฏิบัติการ / ISO/ IEC 17025 Laboratory Accreditation ให้ติดตาม ISO หลายมาตรฐานมีการปรับเปลี่ยนเวอร์ชั่น หรือกำลังจะปรับเปลี่ยน
ในอุตสาหกรรมผลิตฟิล์มพลาสติค ที่มีโอกาสสัมผัสกับอาหาร มีการจัดทำมาตรฐาน GMP และหลายๆโรงงานจัดทำระบบคุณภาพ HACCP ให้ควบรวมกับ ISO9001:2015 หรือกับ BRC นัดตรวจประเมินพร้อมกัน จะประหยัดค่าตรวจได้ หลายๆ CBs มีพิจารณาลดวันตรวจประเมินให้
เขียนต่อคราวหน้า
ในอุตสาหกรรมผลิตฟิล์มพลาสติค ที่มีโอกาสสัมผัสกับอาหาร มีการจัดทำมาตรฐาน GMP และหลายๆโรงงานจัดทำระบบคุณภาพ HACCP ให้ควบรวมกับ ISO9001:2015 หรือกับ BRC นัดตรวจประเมินพร้อมกัน จะประหยัดค่าตรวจได้ หลายๆ CBs มีพิจารณาลดวันตรวจประเมินให้
เขียนต่อคราวหน้า